รายชื่อหัวข้อโครงร่างวิจัยแพทย์ประจำบ้าน ปีพ.ศ. 2567
1 | พญ.สิริกัญญา อมรประเสริฐสุข คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล |
The Efficacy of home rehabilitation for patient with subacute stroke: a quasi-experimental study |
2 | พญ.ธัญนิชา วสุธารา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล |
Incentive spirometry adherence and associated factors in cardiac surgery |
3 | พญ.สุพิชชา วีระวัฒนานันท์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล |
Efficacy and safety of self-made microwavable hot pack made from volcanic charcoal combined with stretching exercise in the management of chronic nonspecific neck pain, a randomized control trial |
4 | พญ.มทินา งดงามทวีสุข คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล |
The efficacy of myofunctional therapy in treating Obstructive sleep apnea patients, a randomized controlled trial |
5 | นพ.ณัฐพล เจริญศิริวัฒน์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล |
Silicone leg model for the training of ultrasound-guided botulinum toxin injection in Rehabilitation Medicine Residents |
6 | พญ.ณัฐกุล รุ่งเรือง คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล |
Efficacy and Safety of Botulinum toxin-A injection for Cervical Dystonia:A Retrospective Study |
7 | พญ.อัญชิษฐา พยุหนาวีชัย คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล |
The Effect of Extracorporeal Magnetotransduction Therapy (EMTT) in children with arthritis : a randomized controlled trial |
8 | พญ.ทิพย์จุฑาห์ สาธิตวงศ์ไพบูลย์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล |
Evaluation of rational use of anti-osteoporosis drugs in a university hospital |
9 | พญ.ฟ้าคราม สุวัฒน์พิศาลกิจ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล |
THE COMPARISON OF THE EFFICACY OF A 20 MG S-FLURBIPROFEN PLASTER TRANSDERMAL PATCH APPLIED AT ACUPUNCTURE POINTS AND A 40 MG TRANSDERMAL PATCH APPLIED AT KNEE FOR PAIN RELIEF IN PRIMARY KNEE OSTEOARTHRITIS: AN OPEN-LABEL, RANDOMISED, CONTROLLED, NON-INFERIORITYTRIAL |
10 | พญ.ภัทราวดี สีนวลสุข คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล |
The effectiveness of custom made toe crest on decreasing tip toe pain of patient with lesser toe deformities |
11 | นพ.พบธรรม นิธิเมธาวิสิฐ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า |
การศึกษาประสิทธิภาพของการออกกำลังกายการฝึกความรับรู้ตำแหน่งของร่างกายบริเวณข้อเท้าเพื่อป้องกันการบาดเจ็บบริเวณข้อเท้าขณะโดดร่มในหลักสูตรส่งทางอากาศ กองทัพบก |
12 | พญ.ชนากานต์ จึงมั่นคง โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า |
การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพระหว่างการให้เออร์โกแคลซิเฟอรอลขนาด 40,000และ 80,000 ต่อสัปดาห์ในภาวะขาดวิตามินดีเพื่อรักษาผู้ป่วยปวดกล้ามเนื้อและเนื้อเยื่อพังผืดเรื้อรัง |
13 | พญ.อาภาพร มิตรศิริสวัสดิ์ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า |
ความชุก ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง และผลกระทบของอาการปวดต้นคอของศัลยแพทย์โรงพยาบาลแห่งหนึ่งในประเทศไทย |
14 | นพ.คงวัฒน์ สุคนธทรัพย์ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า |
อุบัติการณ์ และปัจจัยเสี่ยงของการบาดเจ็บที่รยางค์ส่วนล่าง ระหว่างการฝึกพื้นฐานทางการทหารของนักเรียนแพทย์ทหารชั้นปีที่สอง |
15 | นพ.สฐิพัจ พรพลศรัณย์ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า |
การศึกษาความชุกและปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้องของภาวะซึมเศร้าและวิตกกังวลในกลุ่มผู้ป่วยที่ถูกตัดขา |
16 | พญ.ณัฐกมล เอื้ออนันต์ตระกูล โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า |
การศึกษาประสิทธิภาพของเครื่องเลเซอร์กำลังสูงในการรักษาอาการระบมหลังการลงเข็ม ณ บริเวณจุดกดเจ็บของกล้ามเนื้อทราพีเซียสส่วนบน |
17 | พญ.สิรภัทร ประภพรัตนกุล คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ฯ |
การศึกษาประสิทธิภาพของการกระตุ้นเส้นประสาททางผิวหนังด้วยไฟฟ้าและการบำบัดด้วยความเย็นก่อนการรักษาด้วยการออกกำลังกาย ในผู้ป่วยที่มีอาการปวดลูกสะบ้า: การศึกษาเชิงทดลองแบบสุ่ม |
18 | พญ.ชาลิสา ตังคนังนุกูล คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ฯ |
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความสามารถในการทำกิจกรรมและคุณภาพชีวิตของเด็กโรคหัวใจผิดปกติแต่กำเนิด |
19 | พญ.ธมลวรรณ ปฐมกสิกุล คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ฯ |
ความชุกและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะกลืนลำบากจากมวลกล้ามเนื้อที่ใช้ในการกลืนน้อย ในผู้สูงอายุที่สามารถพึ่งพาตนเองและมีภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อย |
20 | พญ.นันทิชา เสมสวัสดิ์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ฯ |
ประสิทธิภาพของการฝึกด้วยหุ่นยนต์รยางค์บนแบบเคลื่อนไหวหลายทิศทางในผู้ป่วยโรคหลอด เลือดสมอง: เปรียบเทียบกับการฟื้นฟูแบบดั้งเดิม |
21 | พญ.คุลิกา ศิริทรัพย์จนันท์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ฯ |
การศึกษาประสิทธิผลของการรักษาผู้ป่วยแผลเท้าเบาหวานด้วยทีมสหสาขาวิชาชีพแบบให้บริการเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียว |
22 | พญ.ศุภกร เชาวรัตน์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ฯ |
การศึกษาผลการรักษากลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อและเยื่อพังผืด ในวัยทํางาน ด้วยวิตามินดี: การทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม |
23 | พญ.นพสร คันธารัตนกุล คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ฯ |
การศึกษาประสิทธิผลของการฟื้นฟูด้วยทัศนศิลป์ต่อการรับรู้และความเข้าใจในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง การศึกษาแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุมปกปิดทางเดียว |
24 | พญ.ชุติมณฑน์ ปทะวานิช คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ฯ |
การตรวจวินิจฉัยภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อยในผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวด้วยอัลตราซาวนด์กล้ามเนื้อต้นขาส่วนหน้า การวิจัยเชิงวินิจฉัย |
25 | นพ.ปวรุศม์ ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ฯ |
ความสัมพันธ์ระหว่างเวลาปฏิกิริยาตอบสนองและการควบคุมยับยั้งโดยการใช้เครื่องมือ ReacStick® กับความเสี่ยงต่อการหกล้มในประชากรผู้สูงอายุ |
26 | พญ.ทิวากร ภูมิพันธ์ ม.ขอนแก่น |
การศึกษาความสัมพันธ์เกี่ยวกับการทำงานของมือกับคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยโรคหนังแข็ง |
27 | พญ.พรธีรา พันธุ์ตา ม.ขอนแก่น |
คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยที่มีภาวะกลืนลำบากระยะช่องปากและคอหอย |
28 | พญ.นันทนัช ไพศาลทรัพย์ผล ม.ขอนแก่น |
การศึกษาการทำงานของสมองโดยเครื่องบันทึกสัญญาณสมองระบบ functional near-infrared spectroscopy (fNIRS) ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเมื่อได้รับการกระตุ้นระยางค์ส่วนบนด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เปลี่ยนหัวข้อโครงการวิจัยเป็น การกระตุ้นรยางค์บนด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะกึ่งเฉียบพลันและระยะเรื้อรังง |
29 | พญ.ศุภรดา ศิระยรรยง ม.ขอนแก่น |
การศึกษาเปรียบเทียบลักษณะการปวด ความทนทานของกล้ามเนื้อคอ และพิสัยการเคลื่อนไหวของคอในผู้หญิงที่มีออฟฟิศซินโดรมที่มีภาวะศีรษะยื่นกับผู้ป่วยที่ไม่มีภาวะศีรษะยื่น: การศึกษาแบบจับคู่และมีกลุ่มควบคุม เปลี่ยนหัวข้อโครงการวิจัยเป็น ความเที่ยงและความตรงของ Neurogenic bowel dysfunction score (NBD score) |
30 | พญ.ปิยธิดา โอฬารธนสาร ม.ขอนแก่น |
การศึกษาความเปลี่ยนแปลงของมวลกล้ามเนื้อและความแข็งแรงของกล้ามเนื้อในผู้ป่วยหลอดเลือดสมองในช่วงเวลา 4 ปี การศึกษาแบบข้างหน้าจากข้อมูลย้อนหลัง |
31 | นพ.ธัชนันท์ จันทร์ปรุง ม.ขอนแก่น |
ผลของการนวดท้องแบบราชสำนักต่อภาวะท้องผูกในผู้ป่วยหลอดเลือดสมอง |
32 | นพ.ภาวีร์ จึงจรรยา โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา |
ประสิทธิผลของการออกกำลังกายแบบแรงต้านด้วยการเพิ่มระยะเวลาขณะกล้ามเนื้อยืดเหยียดในการเพิ่มความแข็งแรงกล้ามเนื้อกลุ่มเหยียดข้อเข่า |
33 | นพ.ธีรภัทร ปัญญา โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา |
การศึกษาประสิทธิภาพการรักษาของเครื่องกระตุ้นระบบประสาทส่วนปลายด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในผู้ป่วยที่มีภาวะปวดเหตุจากพยาธิสภาพเส้นประสาทจากโรคเบาหวานบริเวณเท้า |
34 | นพ.ฐิติวัชร เรืองเสาวพงษ์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา |
การศึกษาเปรียบเทียบผลการใช้สื่อวีดิทัศน์และการให้คำแนะนำในการบริหารข้อมือในผู้ป่วยกระดูกเรเดียสส่วนปลายหัก: การทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม |
35 | พญ.อริศา เอื้อภักดีประเสริฐ กรมการแพทย์ |
ผลทันทีของการกระตุ้นแม่เหล็กไฟฟ้ารอบนอกต่อความเร็วในการทำงานของรยางค์ส่วนบนโรคหลอดเลือดสมองที่มีภาวะอัมพาตครึ่งซีก การวิจัยเชิงทดลองแบบสุ่มชนิดมีกลุ่มควบคุมแบบปกปิดสองทาง |
36 | นพ.ศรัณย์ วานิชพงษ์พันธ์ กรมการแพทย์ |
ผลของการออกกำลังกายแบบแรงต้านต่ำด้วยการจำกัดการไหลเวียนเลือดในผู้ใหญ่ก่อนสูงวัยและสูงวัยที่เสี่ยงต่อภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อย (การทดลองแบบสุ่มมีกลุ่มหลอกและปกปิดสองทาง) |
37 | พญ.อภิชญา เขมะพันธุ์มนัส มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
การศึกษาเปรียบเทียบผลของการใช้เท้าเทียม SACH footและ Dynamic foot ในผู้ป่วยพิการตัดขา ระดับใต้เข่าจากสาเหตุของโรคหลอดเลือดส่วนปลาย |
38 | นพ.ชวพงศ์ วารีรัตน์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
ความสัมพันธ์ระหว่างความรุนแรงของอาการน้ำลายหยดกับระดับทักษะการสื่อสารใน เด็กสมองพิการ |
39 | พญ.นันทัชพร ทะนนท์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิผลของการรักษาแผลเท้าเบาหวานระหว่างการใช้เลเซอร์พลังงานสูง และการรักษาแบบมาตรฐาน |
40 | พญ.พิชามญชุ์ สุวรรณฉัตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
การศึกษาประสิทธิภาพของเบาะเว้าเข้ารูปสะโพก CMU-Contoured Cushion ในผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังที่ใช้วีลแชร์ |
41 | พญ.เพ็ญพิชชา โรจน์พิบูลสถิตย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
การหาจุดตัดของค่าดัชนีมวลกายเพื่อวินิจฉัยโรคอ้วนในผู้บาดเจ็บไขสันหลังชาวเอเชีย : การศึกษาความแม่นยำของการตรวจวินิจฉัยแบบภาคตัดขวาง |
42 | พญ.วิมลรัฐ ธารนพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
ประสิทธิผลของโปรแกรมการฟื้นฟูสมรรถภาพทางไกลโดยมีพื้นฐานจากไลน์แอพพลิเคชันต่อการเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้พิการบาดเจ็บไขสันหลังที่อาศัยอยู่ในชุมชน เปลี่ยนหัวข้อโครงการวิจัยเป็น การไม่ใช้บริการพาหนะรับส่งผู้ทุพพลภาพเพื่อเข้ารับบริการสาธารณสุขในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ. การศึกษาแบบภาคตัดขวางในกลุ่มผู้พิการบาดเจ็บไขสันหลัง |
43 | พญ.รักษ์สลิล รักษ์ตระกูล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
ความเสี่ยงต่อการกดทับเส้นประสาทพีโรเนียลจากอุปกรณ์เสริมข้อเท้าและเท้า:การศึกษาตำแหน่งของเส้นประสาทพีโรเนียลที่ทอดผ่านกระดูกฟิบูล่าโดยใช้อัลตราซาวน์ |
44 | พญ.นภัส รุ่งเรืองธนะกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
การศึกษาการนำกระแสประสาทรับความรู้สึกของเส้นประสาทแอนตีเบรเคียลคิวทาเนียสด้านใน โดยวิธีออร์โทโดรมิกสำหรับประชากรชาวไทย |
45 | พญ.เกวลิน ยุทธเสรี โรงพยาบาลรามาธิบดี |
การศึกษาเปรียบเทียบของการเคลื่อนไหวของข้อเท้าระหว่างวิธี Mulligan mobilization with movement กับ Self-mobilization with movement ในผู้ป่วย โรคหลอดเลือดสมองในระยะเรื้อรัง |
46 | นพ.ศิรวิทย์ วิรจน์สกุลชัย โรงพยาบาลรามาธิบดี |
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอัลตราซาวด์และผลลัพธ์ด้านคลินิคหลังผ่าตัดรักษาการกดทับเส้นประสาทอัลน่าในบริเวณข้อศอก |
47 | พญ.รัตนภรณ์ แก้วขาว โรงพยาบาลรามาธิบดี |
การศึกษาผลของโปรแกรมการฟื้นฟูหัวใจแบบผู้ป่วยใน (phase I cardiac rehabilitation) ต่อการทรงตัวในผู้ป่วยผู้สูงอายุภายหลังการผ่าตัดหัวใจแบบเปิด |
48 | พญ.ณฐณัท ปิ่นนพฉัตร โรงพยาบาลรามาธิบดี |
การศึกษาประสิทธิภาพของการใช้คลื่นกระแทกเทียบกับการใส่อุปกรณ์พยุงข้อนิ้วต่อการรักษาผู้ป่วยโรคนิ้วติดสะดุด |
49 | พญ.ชวัลลักษณ์ เหล่ากาญจนกร โรงพยาบาลรามาธิบดี |
ผลการลดลงของข้อไหล่เคลื่อนในผู้ป่วยเส้นเลือดสมองระยะกึ่งเฉียบพลันโดยการกระตุ้นระบบประสาทส่วนปลายด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า |
รายชื่อหัวข้อโครงร่างวิจัยแพทย์ประจำบ้าน ปีพ.ศ. 2566
1 | พญ.ปีย์รณา นาคแดง คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล |
Clinical evaluation for severity stratification in carpal tunnel syndrome, a cross sectional study |
2 | พญ.ธัญญนุช อัตวินิจตระการ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล |
The validity and reliability of the Telephone version Montreal Cognitive Assessment (MoCA) in screening cognitive impairment after stroke |
3 | นพ.อินทัช อำไพพรรณ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล |
Effectiveness of telerehabilitation in balance training program among elderly at risk of falling, a randomized controlled trial |
4 | พญ.ชุติมา เจษฎาวิทยากุล คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล |
Dysphagia Screening in Parkinson’s Disease: An accuracy of the water swallowing test (WST) |
5 | นพ.นวพัฒน์ เคลือบวัง คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล |
Combined inspiratory muscle training and home-based pulmonary rehabilitation in patient with interstitial lung disease : a randomized controlled trial |
6 | นพ.จักรภัทร สวัสดิ์เรือง คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล |
A study of short-term effects of using shoulder-posture-corrector belts combined with stretching exercise in the management of chronic neck pain in office workers: A randomized single-blind controlled trial |
7 | นพ.วชิรพล วันเพ็ญ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล |
Correlation between sweep visual evoked potential and Snellen test in visual acuity assessment ; (cross sectional study) |
8 | นพ.กนกพล ศุภสิริมนตรี คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล |
Accuracy of screening tools for sarcopenia among elderly stroke inpatients receiving rehabilitation |
9 | พญ.ภาสินี ธีระภาพ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล |
Validity and reliability of thai version of the Vascular Quality of life Questionnaire-6 (VascuQol-6), Descriptive Study เปลี่ยนโครงการวิจัยเป็น Transl |
10 | พญ.พลอยปภัส รชตเจริญทรัพย์คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล | The efficacy of modified total contact orthosis on decreasing pain in patients with posterior tibial tendon dysfunction, A prospective, randomized double-blinded controlled trial |
11 | ร.ต.หญิงพิมพิกา ฟักทองพรรณโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า | การศึกษาประสิทธิภาพของครีมยาชาลิโดเคนและไพรโลเคน (เอ็มลา) ต่อการลดอาการปวดขณะลงเข็มที่จุดกดเจ็บแบบแอคทีฟของกล้ามเนื้อทราพีเซียสส่วนบน เพื่อรักษากลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อและเนื้อเยื่อพังผืด: การวิจัยเชิงทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม ชนิดปกปิดสองทาง |
12 | นพ.ธนชนม์ อุงอำรุง โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า |
ความแม่นยำของ Apple Watch ในการวัดระยะทางของการทดสอบการเดิน 6 นาทีในผู้ป่วยฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ |
13 | ร.ต.ท.หญิงรวิภา ขุนณรงค์ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า |
การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของปริมาณสารน้ำในการรักษาด้วยวิธีการฉีดสารน้ำขยายเยื่อหุ้มข้อไหล่โดยใช้เครื่องมืออัลตราซาวน์ช่วยนำในผู้ป่วยที่มีภาวะข้อไหล่ยึดติด การวิจัยเชิงทดลองแบบสุ่มแบบปกปิดสองทาง |
14 | นพ.ชยุตพล ทองศิริ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า |
ประสิทธิผลทันทีของการใช้เครื่องกระตุ้นระบบประสาทรอบนอกด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าต่อภาวะหดเกร็งของกล้ามเนื้อบริเวณรยางค์ส่วนล่างในผู้ป่วยที่มีรอยโรคในระบบประสาทส่วนกลาง : การวิจัยเชิงทดลองแบบสุ่มชนิดมีกลุ่มควบคุมแบบปกปิดสองทาง |
15 | ร.ท.ปรัตถกร เฉลิมช่วง โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า |
การศึกษาหาความชุกและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อยในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ |
16 | พญ.ชฎาทาน ศรีสมบัณฑิต โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า |
ความเที่ยงและความตรงของเกณฑ์วินิจฉัย AAPTฉบับภาษาไทยชนิดผู้ป่วยอ่านและตอบเองในผู้ป่วยที่มีอาการปวดกระดูกและกล้ามเนื้อเรื้อรัง |
17 | นพ.ชนาธิศ ดุลนกิจ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ฯ |
การศึกษาประสิทธิภาพของนวัตกรรมโทรเวชกรรมฟื้นฟู ร่วมกับการวิเคราะห์การเคลื่อนไหวของร่างกาย ต่อความสามารถทางกายในด้านการเคลื่อนไหวและการเดิน และระดับความเสี่ยงต่อการล้มในผู้สูงวัยที่มีความสามารถทางกาย ระดับปานกลางถึงต่ำ การวิจัยเชิงทดลองมีกลุ่มควบคุมและปกปิดผู้ประเมินผล |
18 | พญ.อภิชญา จิตรภักดี คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ฯ |
ประสิทธิภาพของการฟื้นฟูระยะแรกภายหลังการผ่าตัดเชื่อมกระดูกสันหลังระดับเอว |
19 | พญ.ปัทมา ลิขิตวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ฯ |
การศึกษาผลของการกระตุ้นด้วยการสั่นต่อการเดินในผู้ป่วยโรคพาร์กินสันและกลุ่มอาการพาร์กินสัน |
20 | พญ.เปมิกา เครือรัตน์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ฯ |
ประสิทธิภาพของเครื่องกระตุ้นด้วยสนามแม่เหล็กร่วมกับการรักษาแบบอนุรักษ์นิยมในการรักษาภาวะเส้นประสาทมีเดียนถูกกดรัดที่อุโมงค์ข้อมือระดับความรุนแรงปานกลางถึงมากในช่วงต้น |
21 | พญ.สิรินดา กิตติประชากุล คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ฯ |
ผลของการออกกำลังกายแบบแอโรบิคและการออกกำลังกายแบบแรงต้านทานของผู้ป่วยโรคตับแข็งต่อระบบประสาทออโตโนมิก และการทำงานของเซลล์บุผิวหลอดเลือด: การทดลองแบบสุ่มที่มีกลุ่มควบคุม |
22 | พญ.นริศรารัตน์ เตรียมวิศิษฎ์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ฯ |
ความเที่ยงตรงของแบบสอบถามการออกกำลังแบบมีแรงต้านฉบับภาษาไทย |
23 | พญ.นรมน จาตุรวิทย์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ฯ |
การศึกษาประสิทธิภาพของอุปกรณ์พยุงข้อเข่าแบบปรับมุมได้ในการควบคุมมุมงอข้อเข่าระหว่างเพศชายและหญิง |
24 | พญ.สุธิมา ศรีฟ้า คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ฯ |
การศึกษาเปรียบเทียบผลการรักษานิ้วโป้งผิดรูปกำเข้าในฝ่ามือของผู้ป่วยเด็กสมองพิการระหว่างยาฉีดโบทูลินัมชนิดเอขนาดต่ำ และการใส่อุปกรณ์ประคองมือ : การทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม |
25 | พญ.สิรินทิพย์ อัศวสุดสาคร คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ฯ |
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผลที่ได้จากการตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงกับลักษณะอาการทางคลินิกในผู้ป่วยโรคนิ้วล็อค |
26 | พญ.ปวิชญา อุดมพันธ์ คณะแพทยศาสตร์ ม.ขอนแก่น |
ผลของการทำงานสองอย่างในเวลาเดียวกันในรูปแบบเกมต่อการทรงตัวของผู้สูงอายุ |
27 | นพ.ภากร เจษฎาวณิชย์ คณะแพทยศาสตร์ ม.ขอนแก่น |
ผลของถุงน่องรัดขาความยาวใต้เข่าเปรียบเทียบกับความยาวเหนือเข่าต่อความสามารถในการทรงตัวขณะคงที่และเคลื่อนไหวและความสามารถในการเดินในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง |
28 | พญ.ญาณิศา สินธัญญาธรรม คณะแพทยศาสตร์ ม.ขอนแก่น |
การศึกษาความเปลี่ยนแปลงของความสามารถทางกายและพุทธิปัญญา ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองในช่วงเวลา 5 ปี การศึกษาเบื้องต้นแบบย้อนกลับ |
39 | นพ.ธนาภูมิ พรหมสมบัติ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา |
ผลของการใช้อุปกรณ์พยุงกระดูกสันหลังระดับเอวชนิดแข็ง ภายหลังการผ่าตัด posterior lumbar nstrumented fusion ในผู้ป่วยกระดูกสันหลังระดับเอวเสื่อม |
30 | นพ.ไตรพิเชษฐ อธิวรัตถ์กูล โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา |
ผลการลดปวดแบบทันทีภายหลังโดยใช้การกระตุ้นระบบประสาทส่วนปลายด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เพื่อลดปวดในผู้ป่วยกลุ่มอาการเส้นประสาทมีเดียนถูกกดทับในอุโมงค์ข้อมือ |
31 | นพ.ณภัทร ภู่ศิริภิญโญ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา |
ผลของการใช้เครื่องกระตุ้นระบบประสาทด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าต่อการไหลเวียนของเลือดแดงที่ขา เปลี่ยนหัวข้อโครงการวิจัยเป็น ผลการเปลี่ยนแปลงด้านการเคลื่อนไหวในผู้ป่วยที่เข้ารับการฝึก robotic gait ในโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา |
32 | นพ.ชัยพัทธ์ สุทธพงศ์ กรมการแพทย์ |
ความชุกและปัจจัยเสี่ยงของการกลืนลำบากจากภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อยในผู้สูงอายุไทย |
33 | พญ.พีรยา บุญยะลีพรรณ กรมการแพทย์ |
การศึกษาประสิทธิผลของการใช้เครื่องเลเซอร์กำลังสูงร่วมกับการลงเข็มคลายจุด ณ บริเวณกล้ามเนื้อทราพีเซียสส่วนบนในกลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อและเนื้อเยื่อพังผืด ระยะกึ่งเฉียบพลัน การศึกษาเชิงทดลองแบบสุ่มควบคุมปกปิดสองทาง |
34 | นพ.ณัฐวุฒิ แก้วพิทักษ์ คณะแพทยศาสตร์ ม.สงขลาฯ |
การเปรียบเทียบการลดลงของความรุนแรงการปวด และเเรงกดที่น้อยที่สุดที่ทำให้เกิดการปวดของการรักษาด้วยวิธีการปักเข็ม ในผู้ป่วยกลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อทราปีเซียสส่วนบน ซึ่งเกิดจากการมีจุดกดเจ็บ ในระยะเฉียบพลันและระยะรองเฉียบพลันถึงเรื้อรัง |
35 | พญ.ปทิตตา จิรถาวรกุล คณะแพทยศาสตร์ ม.สงขลาฯ |
การทดสอบประสิทธิภาพการพันตอขาชนิดใต้เข่าด้วยผ้ายืด ด้วยตอขาเทียมรับค่าความดัน |
36 | นพ.สุรินทร์ แซ่ตัน คณะแพทยศาสตร์ ม.สงขลาฯ |
การศึกษาประสิทธิภาพการเพิ่มขึ้นของสมรรถภาพของร่างกายในการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจและการให้สุขภาพจิตศึกษาในผู้ดูแลผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดหลังได้รับการขยายหลอดเลือดหัวใจด้วยบอลลูนและใส่ขดลวด |
37 | พญ.ณัชชา อรุณไพโรจนกุล คณะแพทยศาสตร์ ม.เชียงใหม่ |
ความตรงและความเที่ยงของชุดข้อมูลพื้นฐานสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังฉบับภาษาไทย |
38 | พญ.กชกรณ์ เมฆาวุฒิกุล คณะแพทยศาสตร์ ม.เชียงใหม่ |
ความเที่ยงของแบบประเมินความสามารถในการช่วยเหลือตนเองฉบับภาษาไทยแบบรายงานตนเองในผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลัง |
39 | พญ.นงนุช สัมพันธสิทธิ์ คณะแพทยศาสตร์ ม.เชียงใหม่ |
ความแม่นยำของแบบรายงานตนเองฉบับภาษาไทยเรื่องความรุนแรงและระดับของการบาดเจ็บไขสันหลัง |
40 | พญ.ปาจรีย์ ศรมยุรา คณะแพทยศาสตร์ ม.เชียงใหม่ |
ผลของแอพพลิเคชั่นโทรศัพท์มือถือ (ผู้ช่วยฟื้นฟูสมรรถภาพโรคข้อเข่าเสื่อม – ออร่า) ต่อผลลัพธ์ของการฟื้นสภาพในผู้สูงอายุ: การทดลองทางคลินิกแบบไขว้ |
41 | พญ.ณัฐชยา กันทะเสนา คณะแพทยศาสตร์ ม.เชียงใหม่ |
ความชุกและลักษณะของความผิดปกติของการนำประสาทรับความรู้สึกของเส้นประสาท sural ในผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังจากภยันตราย: การศึกษาแบบภาคตัดขวาง |
42 | พญ.ณวรรณ ชีวะสุทโธ โรงพยาบาลรามาธิบดี |
การศึกษาความสมบรูณ์ของ corticospinal tract และการฟื้นตัว ของการเคลื่อนไหวมือ ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะกึ่ง เฉียบพลันที่มีการทำงานของมือบกพร่องอย่างรุนแรง
แก้ไขหัวเรื่องเป็น การศึกษาความต่อเนื่องของกลุ่มเส้นใยประสาทสมองที่ควบคุมการเคลื่อนไหว และการฟื้นตัวของการเคลื่อนไหวมือในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะกึ่งเฉียบพลันที่มีการทำงานของมือบกพร่องอย่างรุนแรง |
43 | นพ.พิชัยยุทธ โตวรกุล โรงพยาบาลรามาธิบดี |
การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพการรักษาภาวะการหย่อนสมรรถภาพทางเพศในผู้ป่วยที่มีการบาดเจ็บทางไขสันหลังด้วยคลื่นกระแทกชนิดโฟกัสความเข้มต่ำ, การทดลองแบบสุ่มแบบมีกลุ่มควบคุม, การศึกษานำร่อง |
44 | พญ.ชนัญชิดา วิชยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี |
ผลการรักษาเด็กสมองพิการด้วยวิธีวอยตาต่อการทำงานของรยางค์ส่วนบน |
45 | นพ.คณิน ลีอารีย์กุล โรงพยาบาลรามาธิบดี |
ความสัมพันธ์ในการตรวจไฟฟ้าวินิจฉัยและการพยากรณ์โรคของการทดสอบกระตุ้นให้เกิดอาการซ้ำโดยใช้แรงดันในภาวะเส้นประสาทมีเดียนถูกกดรัดบริเวณอุโมงค์ข้อมือ |
46 | นพ.ขรรค์ชัย ติรพงศ์พร โรงพยาบาลรามาธิบดี |
การเปรียบเทียบประสิทธิผลของการรักษาระหว่างการฉีดน้ำตาลเดกซ์โทรสและการใช้คลื่นกระแทกความถี่สูงในการรักษาผู้ป่วยภาวะเอ็นข้อไหล่อักเสบ |
47 | พญ.ชนนิ์ชนก ลาภธนชัย โรงพยาบาลรามาธิบดี |
การเปรียบเทียบความหนาของกล้ามเนื้อ Quadriceps femoris ผ่านการอัลตราซาวน์ในผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมรุนแรงที่มีความหลากหลายในการเคลื่อนไหวทางกาย
เปลี่ยนโครงการวิจัยเป็น การศึกษาผลการออกกำลังกายกล้ามเนื้อกางสะโพกในผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมที่มีลักษณะข้อเข่าผิดรูป |
รายชื่อหัวข้อโครงร่างวิจัยแพทย์ประจำบ้าน ปีพ.ศ. 2565
1 | พญ.สุพิชชา ทัสฐาน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล |
การเปรียบเทียบผลการฟื้นฟูสมรรถภาพในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระหว่างการฟื้นฟูแบบผู้ป่วยในครั้งแรกและการฟื้นฟูแบบผู้ป่วยในซ้ำ |
2 | พญ.พัชรี เอื้ออนันต์รัฐกิจ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล |
ความชุกของการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระหว่างการฟื้นฟูสมรรถภาพในหอผู้ป่วยในของภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟูโรงพยาบาลศิริราช |
3 | พญ.ชลิดา วราภิรมย์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล |
การศึกษาประสิทธิภาพและความปลอดภัยของการบําบัดด้วยเครื่องกระตุ้นไฟฟ้าด้วยกระแส แบบอินเตอร์เฟอเรนเชียลร่วมกับการออกกําลังกาย เปรียบเทียบการออกกําลังกายในผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อม |
4 | นพ.อธิไชยย์ สุภโอภาส คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล |
ประสิทธิภาพของโทรเวชกรรมฟื้นฟูในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะกึ่งเฉียบพลัน: การวิจัยเชิง ทดลองแบบสุ่ม
แก้ไขหัวข้อเรื่องเป็น การเข้ |
5 | นพ.ปภพ ชัยวัฒโนดม คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล |
ความแม่นยําของการฉีดยาสู่แขนงประสาทกล้ามเนื้อแฮมสตริงภายใต้การนําของอัลตร้าซาวน์: การศึกษาในร่างอาจารย์ใหญ่ |
6 | นพ.สนันตน์ ชีวะธนรักษ์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล |
การศึกษาความชุกของกลุ่มอาการและความต้องการการฟื้นฟูของคนไข้หลังการติดเชื้อโคโรน่าไวรัส 2019 |
7 | นพ.กรภัทร พงศ์ดารา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล |
ความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะซึมเศร้าในผู้ดูแลหลักของผู้ป่วยเด็กโรคสมองพิการ |
8 | พญ.นิติยา ศรีสุเทพ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล |
ประสิทธิผลของการใช้ผ้ายืดแรงกดรัดซึ่งตัดเย็บเฉพาะบุคคลสำหรับภาวะแขนบวมน้ำเหลืองที่เกี่ยวข้องกับมะเร็งเต้านม |
9 | นพ.ศุภวิชญ์ ศรีพานิชกุลชัย คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล |
สถานการณ์ของผู้ป่วยเท้าเบาหวาน และการเข้าถึงระบบบริการ ในช่วงการระบาดของ โรค COVID-19 |
10 | พญ.เหมรัต พารีศรี โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า |
ค่าอ้างอิงของการตรวจไฟฟ้าวินิจฉัยของกล้ามเนื้อ flexor carpi ulnaris |
11 | นพ.ฐากร ธวัชกีรติพล โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า |
ค่าความแตกต่างที่น้อยที่สุดที่สามารถแสดงนัยสำคัญทางคลินิกของแบบสอบถาม Shoulder Pain and Disability Index และ SF – 36V2 ด้านความปวด ฉบับภาษาไทยในกลุ่มผู้ป่วยปวดไหล่ |
12 | ร.ท.หญิงณัฎฌา หอมรสสุคนธ์ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า |
ความแม่นยำของการวัดพื้นที่หน้าตัดเส้นประสาทมีเดียนที่ข้อมือด้วยเครื่องอัลตราซาวน์เพื่อใช้ในการวินิจฉัยภาวะกดทับเส้นประสาทมีเดียนที่ข้อมือของแพทย์ประจำบ้านสาขาเวชศาสตร์ฟิ้นฟู |
13 | ร.ท.ปารเมษฐ์ พงศ์ไพรภูมิ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า |
ความถูกต้องของการวัดอัตราการเต้นหัวใจในสายรัดข้อมือราคาประหยัดสำหรับบุคคลทั่วไป |
14 | ร.อ.หญิงศิรดา อุดมภักดีพงศ์ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า |
แรงบีบมือเพื่อเป็นตัวทำนายผลของการฟื้นฟูปอดในผู้ป่วยหลังติดเชื้อ COVID-19 ที่ปอดยังมีความผิดปกติ แก้ไขหัวข้อเรื่องเป็น ความชุ |
15 | ร.ท.หญิง ธัญชนก มกรเสน โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า |
การเปรียบเทียบการใช้อัลตราซาวด์และการตรวจไฟฟ้าวินิจฉัยในการวินิจฉัยโรคผังผืดกดทับเส้นประสาทข้อมือ |
16 | พญ.ธัญชนก ชูธรรมสถิตย์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ฯ |
Automated electrodiagnosis result prediction of carpal tunnel syndrome severity based on patient clinical information |
17 | พญ.อิสสรีย์ พฤกษวิวัฒน์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ฯ |
ประสิทธิภาพและความเป็นไปได้ของนวัตกรรมโทรเวชกรรมฟื้นฟูต่อการทรงตัว การเดิน และการเคลื่อนไหวในผู้ป่วยพาร์กินสัน |
18 | นพ.จิรายุ เอื้อวิริยานุกูล คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ฯ |
Agreement in measures of truncal deviation between a wearable wireless motion analysis system and a 3D gait analysis system. |
19 | นพ.ฐาณิศร์ ตันดำรงพงษ์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ฯ |
Association between hand function and cognitive function in Thai community-dwelling older adults. |
20 | นพ.ธนวัต พฤกษ์มหาชัยกุล คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ฯ |
การประเมินการเดินของผู้ป่วยหลอดเลือดสมองด้วย Smart Watch, Smart Band และ Smart Phone เปรียบเทียบกับเครื่องมือ Wearable Inertial System. |
21 | นพ.สรวิศ ลิมาวงษ์ปราณี คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ฯ |
Functional outcome of telerehabilitation in patient with stroke after intensive rehabilitation program |
22 | พญ.ปารมี ตระกูลขจรศักดิ์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ฯ |
การเปลี่ยนแปลงของประสิทธิภาพในการไอและกำลังกล้ามเนื้อในการหายใจในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะเฉียบพลันและกึ่งเฉียบพลัน |
23 | นพ.กษิดิ์เดช ไกรสร คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ฯ |
Efficacy of core strengthening exercise in patient with subacute and chronic work-related neck pain |
24 | พญ.นภัสสร คำชุ่ม คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ฯ |
Ipswich touch test in screening of loss of protective sensation in patients with diabetic peripheral neuropathy and predicting diabetic foot ulceration |
25 | พญ.อดิภา โมลีเศรษฐ์ คณะแพทยศาสตร์ ม.ขอนแก่น |
ภาพอัลตร้าซาวด์ไหล่ในผู้ป่วยข้อไหล่ติด |
26 | นพ.อภิชัย วงศ์วิบูลย์ชัย คณะแพทยศาสตร์ ม.ขอนแก่น |
การศึกษาความเปลี่ยนแปลงของมวลกล้ามเนื้อและความแข็งแรงของกล้ามเนื้อในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองในช่วงเวลา 2 ปี การศึกษาแบบไปข้างหน้า
เปลี่ยนโครงการวิจัยเป็น ความชุ
ในผู้ที่มีอาการปวดไหล่ การศึกษาแบบย้อนหลัง
|
27 | พญ.ผุสรัตน์ น้อยสิทธิ์ คณะแพทยศาสตร์ ม.ขอนแก่น |
ความชุกและปัจจัยทำนายที่มีผลต่อการกลับเข้าทำงานของผู้ป่วยหลอดเลือดสมองวัยทำงาน |
28 | พญ.ธนพร เกสรพรหม คณะแพทยศาสตร์ ม.ขอนแก่น |
ความสามารถในการเคลื่อนไหวในเด็กพิการทางสมองที่ได้รับการฟื้นฟูหลังการผ่าตัดตั้งแต่เริ่มแรก |
29 | พญ.เสาวภาคย์ ตรีสุธรรมมาศ คณะแพทยศาสตร์ ม.ขอนแก่น |
ความสัมพันธ์ของการวัดความหนาของกล้ามเนื้อควอดริเซ็บด้วยอัลตร้าซาวด์ และการตรวจด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในผู้สูงอายุที่มี ภาวะข้อเข่าเสื่อม |
30 | นพ.ชินกฤต อิศราภรณ์ คณะแพทยศาสตร์ ม.ขอนแก่น |
ความสัมพันธ์ระหว่างอาการแสดงและการตรวจไฟฟ้าวินิจฉัยต่อภาวะแทรกซ้อนระยะยาวในผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรงเอแอลเอสในโรงพยาบาลศรีนครินทร์ |
31 | พญ.กันตา สุวรรณฉาย โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา |
ผลลัพธ์ด้านความสามารถในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่ได้รับการดูแลระยะกลาง |
32 | พญ.ปรีชญา มานุจำ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา |
ระดับวิตามินดีในเลือดต่อความรุนแรงของโรคหลอดเลือดสมองตีบ แก้ไขหัวข้อเรื่องเป็น ปัจจั |
33 | พญ.ปิยธิดา อภัยพงษ์ กรมการแพทย์ |
ประสิทธิผลทันทีของการกระตุ้นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ารอบนอกต่อความเร็วในการเดินของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะกึ่งเฉียบพลันที่มีภาวะอัมพาตครึ่งซีก การวิจัยนำร่องเชิงทดลองแบบสุ่มชนิดมีกลุ่มควบคุมแบบปกปิดสองทาง |
34 | พญ.วรรษิดา ชามะสนธ์ กรมการแพทย์ |
การศึกษาประสิทธิภาพในการลดปวด เปรียบเทียบการฉีดน้ำตาลเดกซ์โทรสและการฉีดยาชาบริเวณจุดกดเจ็บ ในผู้ป่วยที่มีกลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อและพังผืด |
35 | พญ.ภัณทิลา สายบัณฑิต คณะแพทยศาสตร์ ม.สงขลาฯ |
ประสิทธิผลของการเริ่มโปรแกรมฟื้นฟูอย่างเข้มข้นเร็วและใช้ระยะเวลาสั้นในผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังในประเทศที่มีทรัพยากรจำกัด |
36 | พญ.ญานิกา ยุทธยศ คณะแพทยศาสตร์ ม.สงขลาฯ |
ปัจจัยที่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ที่มีผลต่อการลดลงของกล้ามเนื้อในผู้ป่วยหลังผ่าตัดลดน้ำหนัก |
37 | พญ.ฮุซนี พัฒนปรีชาวงศ์ คณะแพทยศาสตร์ ม.สงขลาฯ |
ความสัมพันธ์ระหว่างความถี่ในการฝึกด้วยหุ่นยนต์ช่วยฝึกเดินและความสามารถในการเดินที่ดีขึ้นของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง |
38 | พญ.ทรรศยา บูรณุปกรณ์ คณะแพทยศาสตร์ ม.เชียงใหม่ |
ค่าความแตกต่างที่น้อยที่สุดที่มีนัยสำคัญทางคลินิก และค่าชี้วัดการเปลี่ยนแปลงที่น้อยที่สุดของ Arm activity measurement ไทย (ArmA-TH) ในผู้ป่วยที่มีปัญหาอัมพาตรยางค์ส่วนบนด้วยสาเหตุพยาธิสภาพของสมอง |
39 | พญ.นิรชา เหลืองอุทัยศิลป์ คณะแพทยศาสตร์ ม.เชียงใหม่ |
ความแม่นยำของการใช้อัลตราซาวด์เส้นประสาทอัลนาในชาวไทยที่ใช้วีลแชร์จากการบาดเจ็บไขสันหลัง |
40 | นพ.ณัฏฐ์ คุณชมภู คณะแพทยศาสตร์ ม.เชียงใหม่ |
การเปรียบเทียบการออกกำลังกายบริหารมือแบบเลื่อนเส้นเอ็นกับการใส่ที่ดามข้อมือและข้อโคนนิ้วมือในการรักษาภาวะเส้นประสาทมีเดียนถูกกดรัดบริเวณอุโมงค์ข้อมือในกลุ่มผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังที่ใช้วีลแชร์ |
41 | พญ.ภัสสพร จารุพัฒน์หิรัญ คณะแพทยศาสตร์ ม.เชียงใหม่ |
การพัฒนาเกณฑ์ทำนายทางคลินิกสำหรับการทำนายทางเดินปัสสาวะส่วนบนเสื่อมสภาพในผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลัง |
42 | พญ.ณัฏฐา บุญธนากร คณะแพทยศาสตร์ ม.เชียงใหม่ |
ผลของน้ำมัน THC:CBD ต่อภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็งในผู้พิการบาดเจ็บไขสันหลังระยะเรื้อรัง: การทดลองทางคลินิกแบบไขว้ มีการสุ่ม และมีกลุ่มควบคุม |
43 | นพ.นดนัย ณรงค์ชัยสกษดิ์ โรงพยาบาลรามาธิบดี |
การเปรียบเทียบประสิทธิผลการรักษาระหว่างการใช้คลื่นกระแทกชนิดเรเดียลและคลื่นเสียงความถี่สูงในการรักษาผู้ป่วยภาวะปลอกหุ้มเอ็นข้อมืออักเสบในระยะเรื้อรัง |
44 | นพ.ชยากร หาญประมุขกุล โรงพยาบาลรามาธิบดี |
การศึกษาประสิทธิภาพของห้องรวมประสาทสัมผัสต่อพฤติกรรมของเด็กกลุ่มอาการออทิสติก |
45 | นพ.จตุรภูมิ ถนอมศักดิ์ โรงพยาบาลรามาธิบดี |
การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพของการใช้เลเซอร์ความเข้มต่ำที่ใช้ในโรงพยาบาลกับแบบใช้เองที่บ้านในการรักษาแผลเบาหวานที่เท้า : การศึกษานำร่อง |
46 | นพ.ชนัญญู บรรเจิดวานิช โรงพยาบาลรามาธิบดี |
การทำการทดสอบท่างอข้อศอกร่วมกับการตรวจคลื่นไฟฟ้าวินิจฉัยสามารถช่วยในการวินิจฉัยการกดทับเส้นประสาทอัลนาร์บริเวณข้อศอก |
47 | พญ.ฉัตราภรณ์ วิทยาดำรงชัย โรงพยาบาลรามาธิบดี |
การเปรียบเทียบประสิทธิภาพการรักษาระหว่างการใช้ คลื่นกระแทกชนิดโฟกัส กับ การฝังเข็มคลายจุดปวด ในผู้ป่วยที่มีกลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อและพังผืดของกล้ามเนื้อทราพีเซียสส่วนบน |
48 | นพ.กฤษณะ สุริยฉัตร โรงพยาบาลรามาธิบดี |
การเปรียบเทียบประสิทธิภาพระหว่างแผ่นรองเท้าแบบพิมพ์สามมิติกับแผ่นรองเท้าเฉพาะบุคคลในการรักษาผู้ป่วยโรคผังผืดใต้ฝ่าเท้าอักเสบ |
รายชื่อหัวข้อโครงร่างวิจัยแพทย์ประจำบ้าน ปีพ.ศ. 2564
1 | พญ.สิริวิภา ศรีรับขวา ม.ขอนแก่น |
การประเมินความเที่ยงและความตรงในการทำนายของความแปรผันอัตราการเต้นของหัวใจในผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลัง |
2 | พญ.สายทิพย์ ด่านพัฒนะสวัสดิ์ ม.ขอนแก่น |
การประเมินความเสี่ยงของการหกล้มสำหรับผู้สูงอายุโดยใช้ความแปรปรวนของการเดิน |
3 | พญ.เกวลี เอี่ยมวรสมบัติ ม.ขอนแก่น |
ภาพอัลตร้าซาวด์ไหล์ในผู้ป่วยที่ไดรับบาดเจ็บไขสันหลัง: การศึกษาตรวจติดตามในระยะเวลาสองปี |
4 | พญ.พรพิมล โสนา ม.ขอนแก่น |
ผลของการปรับ Foot abduction brace ในการรักษาเด็กเท้าปุก |
5 | นพ.ศวิกร คงธนชาติ ม.ขอนแก่น |
ปัจจัยเสี่ยงที่มีความสัมพันธ์กับภาวะกระเพาะปัสสาวะหดเล็กในผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลัง |
6 | นพ.สกลวัฒน์ เจริญภักดี รพ.มหาราชนครราชสีมา |
ประสิทธิภาพของการออกกำลังกายแบบแรงต้านต่ำด้วยการจำกัดการไหลเวียนของเลือดในผู้ใหญ่ที่มีปัจจัยเสี่ยงต่อโรคข้อเข่าเสื่อม แบบมีอาการ (การทดลองแบบสุ่มมีกลุ่มควบคุมแบบปกปิดสองทาง) |
7 | พญ.วริญญา ลิมป์สดใส รพ.มหาราชนครราชสีมา |
ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะหลังตรวจวัดความดันในกระเพาะปัสสาวะและตรวจพิเศษทางรังสีของกระเพาะปัสสสาวะในผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลัง; การศึกษาแบบย้อนหลัง |
8 | นพ.ธนภูมิ ลัดดาชยพร รพ.จุฬาลงกรณ์ |
ผลของการฝึกการรับรู้ข้อต่อด้วยเครื่องมือการตอบสนองย้อนกลับแบบสวมใส่แผ่นรองรองเท้าต่อความสามารถในการทำงานของข้อเข่าในผู้ป่วยหลังการผ่าตัดซ่อมเอ็นไขว้หน้า: การศึกษาแบบสุ่ม และมีกลุ่มควบคุม |
9 | นพ.สรณัฐ เตชะพานิชกุล รพ.จุฬาลงกรณ์ |
ผลของการกระตุ้นเส้นประสาทส่วนปลายด้วยคลื่นแม่เหล็กต่อภาวะเกร็งที่กล้ามเนื้อขาในผู้ป่วยอัมพาตครึ่งซีกจากโรคหลอดเลือดสมองชนิดกล้ามเนื้อเกร็ง |
10 | พญ.ชนิกานต์ เหล่าธรรมทีป รพ.จุฬาลงกรณ์ |
การศึกษาแบบสุ่มเปรียบเทียบผลของความถี่ในการรักษาอาการปวดจากโรคข้อเข่าเสื่อมด้วยเลเซอร์กำลังสูงระหว่าง 1 ครั้งต่อ สัปดาห์และ 2 ครั้งต่อสัปดาห์ |
11 | พญ.ณัฐกุล สุมนาพันธุ์ รพ.จุฬาลงกรณ์ |
ประสิทธิภาพการรักษาด้วยเครื่องเลเซอร์กำลังสูง (พลังงานรวม 1,580 จูล) ในภาวะปลอกหุ้มเอ็นอักเสบที่โคนนิ้วโป้งระดับข้อมือ (de Quervain’s tenosynovitis) : การศึกษาชนิดสุ่มมีกลุ่มควบคุมและปกปิดสองทาง |
12 | นพ.กันตพงศ์ ทองรงค์ รพ.จุฬาลงกรณ์ |
ผลการฝึกเดินด้วยโครงหุ่นยนต์ช่วยเดินแบบสวมใส่ต่อความสามารถในการเคลื่อนที่ของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะกึ่งเฉียบพลัน: การทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม |
13 | พญ.มาริษา สุประดิษฐ์ ณ อยุธยา รพ.จุฬาลงกรณ์ |
ประสิทธิผลของการฟื้นฟูรยางค์ส่วนบนด้วยอุปกรณ์เชิงปฏิสัมพันธ์เปรียบเทียบกับการออกกำลังกายแบบดั้งเดิมในผู้ป่วยหลอดเลือดสมองแบบกึ่งเฉียบพลัน การทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม ปกปิดหนึ่งทาง |
14 | พญ.กัลยาณี บุญประสิทธิ์ รพ.จุฬาลงกรณ์ |
การกระตุ้นสมองด้วยไฟฟ้ากระแสตรงผ่านทางกะโหลกศีรษะบริเวณ dorsolateral prefrontal cortex (DLPFC) ด้านซ้ายร่วมกับการออกกำลังกายเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อต้นขาในผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมเรื้อรัง:การศึกษาแบบสุ่ม และมีกลุ่มควบคุม ปกปิด 2 ทาง |
15 | นพ.กวี วรธราพงศ์ รพ.จุฬาลงกรณ์ |
ระยะทางที่เดินได้ใน 6 นาที (6-Minute Walk Distance: 6MWD) ก่อนการจำหน่ายออกจากโรงพยาบาลและในช่วงการฟื้นฟูหัวใจระยะที่ 2 (Cardiac Rehabilitation Phase II) ของผู้ป่วยที่รับการผ่าตัดเปลี่ยนหัวใจ และปัจจัยที่ส่งผลต่อระยะทาง |
16 | นพ.ชนะพงศ์ เลิศปัญญาวัฒนากุล รพ.ศิริราช |
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อผลของการฝึกโดยวิธีตั้งเป้าหมายในเด็กที่มีภาวะสมองพิการ |
17 | พญ.สราญภัทร ภู่ไทย รพ.ศิริราช |
ความสามารถในการเดินของผู้ป่วยภาวะไขสันหลังขาดเลือดจากการรักษาหลอดเลือดแดงใหญ่โป่งพองด้วยการผ่าตัดแบบเปิดและการสวนหลอดเลือด |
18 | นพ.รักษิต พิศสอาด รพ.ศิริราช |
ความสัมพันธ์ระหว่างความรุนแรงของกลุ่มอาการกดทับเส้นประสาท median บริเวณอุโมงค์ ข้อมือและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย |
19 | พญ.พัทธมน บุญสิริพิพัฒน์ รพ.ศิริราช |
ลักษณะทางคลินิกและการดูแลรักษาโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้ป่วยนอกของภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู โรงพยาบาลศิริราช |
20 | นพ.วิศว ศรีณัษฐพงษ์ รพ.ศิริราช |
Comparative study of subacute stroke rehabilitation outcome between university hospital versus community hospital |
21 | พญ.ฉันฑมาศ ยิ้มประไพ รพ.ศิริราช |
ผลของการยืดพังผืดฝ่าเท้าพร้อมเอ็นร้อยหวายในท่านั่งต่อการลดปวดส้นเท้าในผู้ป่วยโรคพังผืดใต้ฝ่าเท้าอักเสบ:การศึกษาแบบสุ่มปกปิดทางเดียว |
22 | นพ.พงศธร เจริญวงศ์สวัสดิ์ รพ.ศิริราช |
ความชุกและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับปัญหาแทรกซ้อนที่เท้าของผู้เป็นเบาหวานที่มีภาวะไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย และรับการบำบัดไตทดแทน ณ โรงพยาบาลศิริราช |
23 | นพ.ศรัณย์ สิมิวณิชย์ รพ.ศิริราช |
ความตรงและความเที่ยงของแบบสอบถามรายการกิจกรรมโรคฮีโมฟีเลียในเด็กฉบับภาษาไทย |
24 | พญ.วสุธา ศรีวรรณา รพ.ศิริราช |
ประสิทธิผลของการกระตุ้นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ารอบนอกต่อคะแนนความปวดในกลุ่มผู้ป่วยที่มีอาการปวดกล้ามเนื้อและเยื่อพังผืดกึ่งเฉียบพลันถึงเรื้อรังบริเวณคอ: การศึกษาเชิงทดลองแบบสุ่ม |
25 | พญ.ปวีณา ตันธรรมจาริก รพ.ศิริราช |
ประสบการณ์การรักษาภาวะนิ้วหัวแม่เท้าเกในผู้ป่วยไทย |
26 | พญ.จิดาภา โกมาศ รพ.ศิริราช |
การศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการฟื้นฟูสมรรถภาพทางไกล เพื่อเพิ่มความสามารถในการเคลื่อนไหว มวลกล้ามเนื้อและกำลังกล้ามเนื้อของผู้สูงอายุที่มีภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อยและได้รับการผ่าตัดกระดูกสะโพก |
27 | นพ.พรพุทธ เสรีดีเลิศ กรมการแพทย์ |
ผลกระทบที่ผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังได้รับจากปัญหาการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ต่อการเข้าถึงบริการฟื้นฟูสมรรถภาพที่สถาบันสิรินธรฯ ภาวะสุขภาพและสมรรถนะ |
28 | พญ.จุติกาญจน์ ภูสุมาศ กรมการแพทย์ |
ประสิทธิภาพของการรักษาด้วยเครื่องกระตุ้นแม่เหล็กไฟฟ้ารอบนอกหลังการผ่าตัดแบบเปิดของพังผืดบริเวณอุโมงค์ข้อมือของเส้นประสาทมีเดียน: การศึกษาเชิงทดลองแบบสุ่มชนิดมีกลุ่มควบคุมแบบปกปิดสองทาง |
29 | พญ.พัชรินทร์ แซ่ตั้ง ม.สงขลานครินทร์ |
การศึกษาปัจจัยของระยะเวลาหลังเกิดโรคหลอดเลือดสมองถึงช่วงเริ่มฝึกบำบัดฟื้นฟูสภาพการกลืน ต่อผลของการฝึกกลืนสำเร็จ |
30 | พญ.รดีวรรธ์น พุทธให้ ม.สงขลานครินทร์ |
การศึกษารูปแบบการตอบสนองของภาวะน้ำลายหยดในผู้ป่วยเด็กสมองพิการหลังให้การกระตุ้นกล้ามเนื้อส่วนปาก : ระยะเวลาติดตาม 6 เดือน |
31 | พญ.ณัฐชยา เชี่ยวชาญธนกิจ ม.สงขลานครินทร์ |
ประสิทธิผลของแผ่นรองในรองเท้าจากวัสดุใหม่ในการควบคุมการเคลื่อนที่ของจุดศูนย์กลางแรงดัน (center of pressure sway) ของผู้ป่วยสูงอายุที่มีเท้าแบน |
32 | นพ.ราชภูมิ อนุกูล รพ.พระมงกุฎเกล้า |
การเปรียบเทียบการทดสอบการลุกนั่งและการเดิน 6 นาทีในผู้ป่วยฟื้นฟูหัวใจที่ได้รับการผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ |
33 | พญ.ณัฏฐ์นรี ติกขะปัญญโญ รพ.พระมงกุฎเกล้า |
การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพการฉีดเกล็ดเลือดเข้าข้อเข่าในผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อม ระดับปานกลางถึงมาก |
34 | พญ.อารยา จารุวัสตร์ รพ.พระมงกุฎเกล้า |
ความสัมพันธ์ระหว่างระดับความหนาแน่นของกล้ามเนื้อจากการอัลตร้าซาวด์และลักษณะสัญญาณไฟฟ้าจากการตรวจคลื่นไฟฟ้าของกล้ามเนื้อในผู้ป่วยโรคผังผืดกดทับเส้นประสาทข้อมือ |
35 | พญ.พิมพ์พิชชา ชาญณรงค์ รพ.พระมงกุฎเกล้า |
การศึกษาหาความชุกและปัจจัยเสี่ยงของภาวะพร่องวิตามินดี ในผู้ป่วยปวดกล้ามเนื้อและเยื่อพังผืดเรื้อรัง |
36 | พญ.ณัฏฐา ว่องธนะวิโมกษ์ รพ.พระมงกุฎเกล้า |
การศึกษาหาความเข้ากันได้ของเกณฑ์การวินิจฉัยกลุ่มอาการไฟโบรมันอัลเจีย ปี ค.ศ. 2010 และ 2016 ของ ACR |
37 | พญ.พรสุดา จันทร์ณรงค์ รพ.พระมงกุฎเกล้า |
ความถูกต้องของสายรัดข้อมือสำหรับวัดอัตราการเต้น ของหัวใจในราคาที่จับต้องได้สำหรับบุคคลทั่วไป และผู้ป่วยที่ได้รับการฟื้นฟูหัวใจ |
38 | พญ.สุจิรัตน์ รุ่งรักษาธรรม รพ.รามาธิบดี |
การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพของเครื่องกระตุ้นแม่เหล็กไฟฟ้าเปรียบเทียบกับการฝังเข็มคลายจุด เพื่อลดอาการปวดในผู้ป่วยกลุ่มอาการปวดผังผืดกล้ามเนื้อบริเวณบ่า |
39 | พญ.สุภัค เจริญพารากุล รพ.รามาธิบดี |
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการเคลื่อนไหวผิดปกติของหลอดอาหารหลังได้รับรังสีรักษาในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและลำคอ |
40 | พญ.กานต์มณี สถิโรภาส รพ.รามาธิบดี |
การศึกษาเพื่อเปรียบเทียบผลของโปรแกรมการฟื้นฟูสมรรถภาพทางไกลกับการฟื้นฟูสมรรถภาพ แบบดั้งเดิมในผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมกลุ่มที่กำลังรอผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่า |
41 | นพ.จิตรภาณุ ญาณกิตติพิพัฒน์ รพ.รามาธิบดี |
ประสิทธิผลของการดัดแปลงความข้นหนืดในของเหลวต่อการลดการสำลักในผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมที่มีภาวะกลืนลำบาก |
42 | พญ.รัชต์จันทร์ เจรียงประเสริฐ รพ.รามาธิบดี |
ประสิทธิผลของการใช้ไฟฟ้ากระตุ้นเส้นประสาทผ่านผิวหนังร่วมกับการฝึกกิจกรรมบำบัดต่อการฟื้นฟูการทำงานของรยางค์ส่วนบนข้างที่อ่อนแรงในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะกึ่งเฉียบพลัน |
43 | พญ.ธันยพร บุญจักรศิลป์ ม.เชียงใหม่ |
ความเที่ยงของการตรวจไฟฟ้าวินิจฉัยระบบประสาทอัตโนมัติซิมพาเทติกในผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลัง |
44 | พญ.ภัคสุภา พรมเมือง ม.เชียงใหม่ |
ความเที่ยงและความสอดคล้องภายในของแบบสอบถามเกี่ยวกับการดูแลผิวหนังของผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังฉบับปรับปรุง ฉบับภาษาไทย |
45 | นพ.วริศ กรินนันทกุล ม.เชียงใหม่ |
ความชุกและปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดกลุ่มอาการเส้นประสาทมีเดียนถูกกดทับบริเวณอุโมงค์ข้อมือของผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังที่ใช้ วีลแชร์ |
46 | พญ.กวิตา เป้าศรีวงษ์ ม.เชียงใหม่ |
ผลของเกมฝึกสมองต่อการพัฒนาความสามารถของสมองในผู้สูงอายุ |
47 | พญ.สิรินนา เมฆกิจ ม.เชียงใหม่ |
ความตรงและความเที่ยงของดัชนีบาร์เธลแบบรายงานตนเองฉบับภาษาไทยในผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลัง |
รายชื่อหัวข้อโครงร่างวิจัยแพทย์ประจำบ้าน ปีพ.ศ. 2563
1 | พญ.กิตติมา ดวงเดือน ม.ขอนแก่น |
การศึกษาเปรียบเทียบการทำงานของกลุ่มกล้ามเนื้อ suprahyoid ระหว่าง Chin Tuck Against Resistance และ modified Chin to Chest |
2 | พญ.ชื่นกมล ไชยเสนา ม.ขอนแก่น |
ความชุกของผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังที่มีการทำงานที่เกี่ยวข้องกับสื่อออนไลน์ |
3 | พญ.นิภา กริดรัมย์ ม.ขอนแก่น |
ภาพอัลตราซาวนด์ไหล่ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง |
4 | พญ.วิภัสรา สวัสดี รพ.มหาราชนครราชสีมา |
Vocational reintegration of people with lower limb amputation in Nakhon Ratchasima |
5 | นพ.ณัฐวุฒิ กิตตินานนท์ รพ.มหาราชนครราชสีมา |
ผลของการให้วิตามินดีเสริมในผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังเฉียบพลัน |
6 | นพ.วิษุวัต ชาติบัญชาชัย ม.ขอนแก่น |
ผลของการใช้ถุงน่องรัดขาที่มีความยาวถึงใต้ต่อระดับเข่าและความยาวถึงเหนือต่อระดับเข่าเพื่อเพิ่มความสามารถในการทรงตัวขณะคงที่และเคลื่อนไหวในผู้สูงอายุ |
7 | พญ.จารุวรรณ นิ่มพันธุ์ ม.ขอนแก่น |
ความชุกและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อยในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง |
8 | พญ.กัญญ์ณณัฎฐ์ เหล่าสุวรรณ ม.ขอนแก่น |
ความถูกต้องของชุดคำถาม SARC-F และตารางคะแนนของอิชิในการตรวจคัดกรองภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อยในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง |
9 | นพ.รติ แก้วสนธิ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ |
ผลต่อการฝึกเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหายใจออกต่อความแรงของการไอในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะกึ่งเฉียบพลัน การทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม ปกปิดสองทาง |
10 | นพ.สรวิศ สุวรรณลักษณ์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ |
ผลเฉียบพลันของการเสริม lateral wedge ร่วมกับ shoe lift ต่อความสมดุลของการลงน้ำหนักและการยืนทรงตัวของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะเรื้อรัง
แก้ไขหัวข้อเรื่องเป็น ความสัมพันธ์ของกำลังกล้ามเนื้อรยางค์ล่างกับการเดินภายหลังเกิดโรคหลอดเลือดสมอง |
11 | นพ.อิสร์ อักษรานุเคราะห์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ |
Continuous versus Pulsed Piroxicam phonophoresis(PhP) in symptomatic knee osteoarthritis: A Randomized, double-blinded controlled trial |
12 | พญ.จาคะ อนุจารี โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ |
ผลของการฝึกเดินและการทรงตัวของผู้ป่วยเด็กสมองพิการชนิดเกร็งด้วยเกมที่ใช้เครื่องตรวจจับการเคลื่อนไหว: การศึกษาแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม |
13 | พญ.จิราภรณ์ ตั้งกฤษณขจร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ |
การศึกษาความตระหนักถึงภาวะเท้าแบนและทัศนคติในการดูแลเท้าของประชากรไทย |
14 | พญ.ธัญญา จิตต์แก้ว โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ |
Effect of home-based isometric handgrip exercise with commercially available device on blood pressure in hypertensive older adults : a randomized controlled trial |
15 | พญ.ศิริพร ชวาลตันพิพัทธ์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ |
การศึกษาระยะเวลาเป็นแผลเท้าเบาหวานต่อการเกิดโรคกระดูกติดเชื้อ ณ คลินิกเท้าเบาหวาน โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ |
16 | พญ.สุดา พิพัฒน์บรรณกิจ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ |
เปรียบเทียบประสิทธิผลในการลดปวดด้วยการฉีดสารละลายน้ำตาลเดกซ์โทรสรอบเส้นประสาทรักแร้ ระหว่างส่วนต้นและส่วนปลายในผู้ป่วยที่มีอาการปวดหัวไหล่ร่วมกับต้นแขน |
17 | พญ.อมลภา ศฤงคไพบูลย์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ |
การฝึกผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะรองเฉียบพลันโดยมีระยะเวลาการฝึกไม่เท่ากันด้วยหุ่นยนต์ฝึกรยางค์บนแบบโครงนอก : การศึกษาแบบสุ่มที่มีกลุ่มควบคุม
แก้ไขหัวข้อเรื่องเป็น การใช้เทคโนโลยีในการฟื้นฟูผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง : การสำรวจในประเทศไทย |
18 | พญ.รัชพร ประภวานนท์ รพ.ศิริราช |
The Study of Falling in Geriatric Clinic among the Elderly at Risk |
19 | พญ.รินรดา บุษบาธร รพ.ศิริราช |
ผลของการฝึกเดินด้วยอุปกรณ์พยุงลำตัวชนิดเดินบนพื้น ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือด สมองหลังระยะเฉียบพลันและระยะกึ่งเฉียบพลัน: การศึกษาแบบสุ่ม |
20 | พญ.เจณญา จุฑาแก้ว รพ.ศิริราช |
Effects of Dharma Creative Art Therapy on Psychological Consequences and Quality of Life in Thai Cancer Patients |
21 | พญ.ปีย์วรา อมตเวทย์ รพ.ศิริราช |
Efficacy of Non-interventional pulsed radiofrequency for carpal tunnel syndrome : A randomized controlled trial |
22 | นพ.ณภัทร วังศิริไพศาล รพ.ศิริราช |
ศึกษาเปรียบเทียบการใช้อาหารฝึกที่มีการควบคมุความคงที่ของความหนืดกับอาหาร ปรุงวิธีเดิมโดยผู้ดูแลในการฝึกเด็กที่มีปัญหาการดูดกลืน |
23 | พญ.อริศา ทวีกิติกุล รพ.ศิริราช |
Validity and reliability of the Thai version of Freezing of gait questionnaire in patient with Parkinson’s disease |
24 | นพ.จุมพน พวงเดช รพ.ศิริราช |
ผลของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่อวินัยการออกกำลังกายกล้ามเนื้อช่วยกลืนในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง |
25 | นพ.จารุวัฒน์ บำรุงกิตติกุล รพ.ศิริราช |
Comparison of mechanical insufflation-exsufflation and chest physical therapy on secretion clearance in intubated patients with respiratory conditions |
26 | นพ.จิรวัฒน์ ลิ้มทรัพย์เจริญ รพ.ศิริราช |
ประสิทธิผลของการรักษานิ้วหัวแม่เท้าเกด้วยอุปกรณ์ดามนิ้วหัวแม่เท้าเกชนิดปรับได้ |
27 | ร.ท.หญิงอรศิษฏ์ ศุกรียพงศ์ รพ.พระมงกุฎเกล้า |
การศึกษาความสัมพันธ์ของการพบสารคัดหลั่งคงค้างที่ผนังของคอหอยด้านข้าง กับการเกิดการสำลักในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและลำคอ โดยการตรวจประเมินภาวะกลืนลำบากด้วยการส่องกล้อง |
28 | ร.อ.คณินธัช เสนจันทร์ฒิไชย รพ.พระมงกุฎเกล้า |
ประสิทธิภาพของการกระตุ้นข้อมือด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ารอบนอกเพื่อการรักษา กลุ่มอาการกดทับเส้นประสาทอุโมงค์ข้อมือ |
29 | นพ.ชัยสิทธิ ดรุณสนธยา กรมการแพทย์ |
ประสิทธิผลเครื่องกระตุ้นไฟฟ้าแม่เหล็กรอบนอกในกลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อและเนื้อเยื่อพังผืดระยะกึ่งเฉียบพลัน: การศึกษาแบบสุ่ม ปกปิดสองทาง |
30 | พญ.ณัฐชยา แก้วมะ รพ.พระมงกุฎเกล้า |
ประสิทธิภาพของการกระตุ้นด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ารอบนอกเพื่อการรักษา กลุ่มอาการปวดเส้นประสาทส่วนปลายเหตุจากเบาหวานบริเวณเท้า |
31 | พญ.นิกษา ทนงศักดิ์มนตรี รพ.พระมงกุฎเกล้า |
การศึกษาค่าความเร็วในการนำกระแสประสาทของเส้นประสาทมีเดียนขณะผ่านอุโมงค์ ข้อมือ ในผู้ป่วยที่มีการ กดทับเส้นประสาทบริเวณข้อมือ |
32 | ร.ท.กิตติศักดิ์ ว่องไว รพ.พระมงกุฎเกล้า |
ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน้ำลายในคอและการเกิดการสำลักโดยใช้การส่อง กล้องประเมินการกลืนในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่มีภาวะกลืนลำบาก |
33 | พญ.จิตเกษม คามเกตุ รพ.รามาธิบดี |
การศึกษาความถี่การรักษาที่มีประสิทธิภาพของการกระตุ้นแม่เหล็กไฟฟ้ารอบนอกเพื่อการลดปวดในผู้ป่วยที่มีอาการปวดหลังส่วนล่างเรื้อรัง |
34 | พญ.ณิชพร ผดุงชัยทวี รพ.รามาธิบดี |
การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิผลของคลื่นกระแทกแบบเฉพาะที่กับการฝึกยืดกล้ามเนื้อแบบปกติที่บ้านในการเพิ่มความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อ hamstring ในกลุ่มคนปกติ |
35 | พญ.สกุลรัตน์ สาริกิจ รพ.รามาธิบดี |
การศึกษาประสิทธิภาพระหว่างการติดเทปบำบัดและการใส่อุปกรณ์พยุงนิ้วหัวแม่มือในการรักษาผู้ป่วยโรคปลอกหุ้มเอ็นข้อมืออักเสบในระยะกึ่งเฉียบพลัน |
36 | พญ.ปรีย์ชนัน โตวณะบุตร รพ.รามาธิบดี |
การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพของเครื่องกระตุ้นแม่เหล็กไฟฟ้ารอบนอกกับคลื่นกระแทกชนิดเรเดียในการลดอาหารปวดในผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อม |
37 | พญ.พลอยสิรินทร์ ราษฎร์อาศัย รพ.รามาธิบดี |
การศึกษาประสิทธิผลของเครื่องกระตุ้นซ้ำด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ารอบนอกในการเพิ่มประสิทธิภาพการกลืนในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะกึ่งเฉียบพลัน |
38 | พญ.ธนันยา บุณยประคอง กรมการแพทย์ |
Comparative effectiveness of high-intensity laser therapy and extracorporeal shock wave therapy in chronic plantar fasciitis : a randomized single-blinded clinical trial |
39 | นพ. พสธร ศาลิคุปต ม.เชียงใหม่ |
งานวิจัยเปรียบเทียบระหว่างอุปกรณ์พยุงอุ้งเท้าที่ขึ้นรูปจากแผ่นดินเหนียวกับอุปกรณ์พยุงอุ้งเท้าที่ขึ้นรูปจากการพันปูนปลาสเตอร์ต่อแรงกดใต้เท้าในผู้ป่วยเท้าแบน |
40 | พญ. พุทธรักษา รัชชกูล ม.เชียงใหม่ |
การทดสอบความถูกต้องภายนอกของเกณฑ์ทำนายทางคลินิกด้านผลลัพธ์เรื่องการเดินในผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังชาวไทย |
41 | นพ. ภัทรวิชญ์ พรหมรักษ์ ม.เชียงใหม่ |
ผลของการกระตุ้นสมองด้วยไฟฟ้ากระแสตรงผ่านกะโหลกศีรษะต่อการลดอาการปวดในผู้ป่วยไมเกรน
แก้ไขหัวข้อเรื่องเป็น การศึกษาระยะห่างระหว่างผิวหนังถึงกล้ามเนื้อรอมบอยด์ใหญ่โดยการอัลตราซาวด์สำหรับการฉีดยารักษาจุดกดเจ็บ ในประชากรไทย |
42 | พญ. ชนนันท์ ชัยดรุณ ม.เชียงใหม่ |
ค่าความแตกต่างที่น้อยที่สุดที่มีนัยสำคัญทางคลินิก และค่าชี้วัดการเปลี่ยนแปลงที่น้อยที่สุดของ Spinal Cord Ability Ruler (SCAR) |
43 | พญ. นภเกตน์ พรมมา ม.เชียงใหม่ |
การศึกษาการนํากระแสประสาทรับความรู้สึกของเส้นประสาทซุปเปอร์ฟิเชียล โดยวิธี orthodromic ในกลุ่มประชากรปกติโดยใช้อัลตราซาวน์ |
44 | พญ.ศุภสุตา มั่นสัมฤทธิ์ ม.สงขลานครินทร์ |
การศึกษาประสิทธิภาพในการลดภาวะขาเกร็งด้วยการใช้คลื่นกระแทกที่จำนวน 500 นัดเทียบกับ 1,500 นัดในผู้ป่วยเด็กสมองพิการ: การวิจัยแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม |
45 | นพ.ชินภัทร ไพรวัฒนานุพพันธ์ ม.สงขลานครินทร์ |
การศึกษาประสิทธิผลในการรักษาเปรียบเทียบการรักษาโดยคลื่นกระแทกด้วยพลังงานที่แตกต่างในกลุ่มโรคการกดทับเส้นประสาทมีเดียนบริเวณข้อมือ |
รายชื่อหัวข้อโครงร่างวิจัยแพทย์ประจำบ้าน ปีพ.ศ. 2562
1 | พญ.ภัทราพร แกล้วกล้า รพ.พระมงกุฎเกล้า |
ประสิทธิภาพของโปรแกรมฟื้นฟูหัวใจผ่านแอปพลิเคชันในผู้ป่วยโรคหลอด เลือดหัวใจ (Effectiveness of mobile application-based cardiac rehabilitation program in coronary artery disease patient) |
2 | ร.ท.ณัชชา เหมปฐวี รพ.พระมงกุฎเกล้า |
การศึกษาการเพิ่มความทนทานของกล้ามเนื้อแกนกลางลำตัว ในหลักสูตร การฝึกทหารเกณฑ์ใหม่ กองทัพบกไทย (Effects of a 10-week basic military training program on core muscle endurace in Thai army recruits) |
3 | ร.ท.ธนัสม์ โชคสุวรรณกิจ รพ.พระมงกุฎเกล้า |
ประสิทธิภาพของการกระตุ้นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ารอบนอกในการรักษาภาวะ กล้ามเนื้อหดเกร็งในกลุ่มกล้ามเนื้อสะโพก (Efficacy of peripheral magnetic stimulation in myofascial pain in gluteal muscles) |
4 | พญ.ฐิติรัตน์ รักษ์วิทย์ รพ.พระมงกุฎเกล้า |
ต้นทุนประสิทธิผลของการใช้คลื่นกระแทกชนิดโฟกัสในการรักษาโรครองช้ำอักเสบ: การศึกษาเชิงทดลองแบบควบคุมปกปิดผู้ประเมิน (Cost-effectiveness of Focused Shock Wave Therapy for treating plantar fasciitis: A single-blind randomized controlled trial) |
5 | พญ.สุธิดา สมนาม รพ.พระมงกุฎเกล้า |
การศึกษาค่าสัดส่วนของเส้นประสาทมีเดียนและอัลนาจากการอัลตราซาวด์ในผู้ป่วยที่มีภาวะกดทับเส้นประสาทมีเดียนบริเวณข้อมือ (Sonographic measurement of median to ulnar nerve cross-sectional area ratio in carpal tunnel syndrome) |
6 | ร.ท.สัมมา เลิศธีรกุล รพ.พระมงกุฎเกล้า |
การใช้ฝังเข็มกระตุ้นไฟฟ้าเพื่อลดอาการปวดจากการฉีกขาดของเส้นเอ็น หัวไหล่: การทดลองวิจัยนำร่อง (Percutaneous Electrical Nerve Stimulation for Supraspinatus tendon tear: A Pilot Randomized controlled Trial) |
8 | นพ.ธนัช จงเกรียงไกร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ |
ประสิทธิภาพของเลเซอร์กำลังสูงในผู้ป่วยโรคปลอกหุ้มเอ็นอักเสบ |
9 | พญ.บุศรา เหล่าพัทรเกษม โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ |
Cortical activation during upper limb exoskeleton robotic training and conventional training in subacute stroke patients |
10 | พญ.ลักขณา ชีวสิทธิรุ่งเรือง โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ |
ประสิทธิผลการรักษาโดยวิธีวอยตาต่อการทำงานของกล้ามเนื้อมัดใหญ่ในเด็กสมองพิการ |
11 | พญ.ศุภาพิชญ์ นิมิตรพรชัย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ |
Correlation between the second lumbrical Inching electrodiagnostic method and ultrasonographic finding in the localization of median nerve entrapment site in mild to moderate carpal tunnel syndrome (CTS) |
12 | นพ.วทัญญู ตั้งศิริอำนวย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ |
การเปรียบเทียบผลของการทำ air stacking ร่วมกับ abdominal compression กับการทำ abdominal compression เพียงอย่างเดียวต่อ peak cough flow ในผู้ป่วยที่มีรอยโรคที่ไขสันหลังที่มีความบกพร่องของการไอ |
13 | พญ.พรพรรณ อังยุรีกุล โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ |
ประสิทธิผลของการรักษาอาการปวดจากภาวะ Complex Regional Pain Syndrome ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองด้วยเลเซอร์ ชนิด Multiwave Locked System |
14 | พญ. มณฑลี ศิริเมธารักษ์ โรงพยาบาลรามาธิบดี |
การศึกษาประสิทธิผลการฟื้นฟูสมรรถภาพการทำงานของรยางค์บนด้วยเครื่องกระตุ้นเส้นประสาท ด้วยไฟฟ้าร่วมกับการรักษาฟื้นฟูแบบนุรักษ์ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะกึ่งเฉียบพลัน |
15 | นพ.ธีรุตม์ พรทวีทรัพย์ โรงพยาบาลรามาธิบดี |
ผลการฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้ป่วยฮีโมฟีเลียในโรงพยาบาลรามาธิบดีที่ได้รับแฟคเตอร์ในขนาดต่ำมาก |
16 | พญ.อภิสรา กี่สุขพันธ์ โรงพยาบาลรามาธิบดี |
การศึกษาประสิทธิภาพของเครื่องกระตุ้นแม่เหล็กไฟฟ้ารอบนอกเพื่อลดอาการปวดในผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อม |
17 | พญ.พีรดา เอื้อเชิดกุล โรงพยาบาลรามาธิบดี |
การศึกษาประสิทธิภาพของเลเซอร์ความเข้มสูงในกลุ่มอาการปวดบริเวณลูกสะบ้าใต้เข่า |
18 | นพ.ขวัญ ศรีศิลป โรงพยาบาลรามาธิบดี |
ชุดอุปกรณ์ช่วยลดการติดขัดของการก้าวเดิน โดยอาศัยหลักการของสิ่งกระตุ้นทางสายตา ต่อความเร็วในการเดิน ของผู้ป่วยกลุ่มอาการและโรคพาร์กินสันที่มีการเดินติดขัด |
19 | พญ.พรชนก เศรษฐ์พิทยากุล ม.ขอนแก่น |
ความสัมพันธ์ของแรงดันลิ้น และ แรงกัด กับ ภาวะกลืนลาบากในผู้สูงอายุไทย |
20 | พญ.วตากานต์ สุราษฎร์ ม.ขอนแก่น |
ความชุกและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความผิดปกติที่ไหล่จากภาพอัลตร้าซาวด์ในผู้ป่วยโรคหนังแข็ง |
21 | พญ.พนิดา พูลพิพัฒน์ รพ.มหาราชนครราชสีมา |
ความชุกและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความผิดปกติที่ไหล่จากภาพอัลตร้าซาวด์ในผู้ป่วยโรคหนังแข็งอิสระ |
22 | พญ.ปวีณรัตน์ จรัสสุริยงค์ รพ.มหาราชนครราชสีมา |
ผลของการรักษาภาวะเสียการสื่อความในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง โดยใช้การกระตุ้นสมองด้วยไฟฟ้ากระแสตรงผ่านกะโหลกศีรษะ |
23 | นพ.พลวัฒน์ อ่วมพันธ์เจริญ ม.ขอนแก่น |
ประสิทธิภาพของการใช้เลเซอร์กาลังสูงในการรักษาโรคพังผืดใต้ฝ่าเท้าอักเสบ |
24 | พญ.นวรัตน์ จินตกุล ม.ขอนแก่น |
การใช้ Repetitive transcranial magnetic stimulation (rTMS) เพื่อฟื้นฟูการทางานของมือ ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง |
25 | พญ.อาภัสสร เรืองสุภาภิชาติ ม.ขอนแก่น |
การประเมินความเที่ยงของความแปรผันอัตราการเต้นของหัวใจ ในผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลัง |
26 | พญ.อรชพร ปาณธูป ม.ขอนแก่น |
การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิผลของการใช้เครื่องกระตุ้นด้วยแม่เหล็กส่วนปลายกับการรักษาแบบประคับประคองในโรคเส้นประสาทมีเดียนถูกกดทับบริเวณข้อมือ: การศึกษาแบบสุ่ม |
27 | นพ.หัสนัยน์ บรรทัดธรรม ม.เชียงใหม่ |
อิทธิพลของการกระตุ้นสมองแบบไม่ผ่าตัดโดยใช้ไฟฟ้ากระแสตรงผ่านกะโหลกศีรษะ ต่อการฟื้นสภาพการทำงานของรยางค์บนและล่าง ในผู้ป่วยหลอดเลือดสมองแบบเรื้อรัง |
28 | พญ.ชุติมณฑน์ สุนทรธรรม ม.เชียงใหม่ |
ความตรงของแบบประเมินความสามารถในการดำเนินกิจวัตรประจำวันอย่างอิสระโดยการประเมินตนเองฉบับภาษาไทย (Thai version SCIM-SR) |
29 | พญ.กัญญาณัฐ มหิทธิหาญ ม.เชียงใหม่ |
ความชุกของการเกิดโรคกระดูกพรุนและพยากรณ์กระดูกหักในผู้พิการบาดเจ็บไขสันหลังในประเทศไทย |
30 | พญ.เมษา เสริมสุข ม.เชียงใหม่ |
อุบัติการณ์ภาวะทางเดินปัสสาวะส่วนบนเสื่อมสภาพและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังไทย |
31 | พญ.ศศิวิมล ส่องสี ม.เชียงใหม่ |
ความเที่ยงตรงและความเชื่อมั่นของเครื่องมือดัชนีความปวดไหล่ของผู้ใช้วีลแชร์ |
32 | พญ.รวิษฎา อภิภูธนายุต ม.สงขลานครินทร์ |
การศึกษาเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยสูงสุดของแรงกดใต้ฝ่ าเท้าบริเวณกลางเท้า ของรองเท้าเบาหวาน ดัดแปลงชนิด double rocker และ re-last โดยศึกษาในผู้ป่ วยเบาหวานที่เท้าผิดรูปชนิด Charcot |
33 | พญ.อาภาภรณ์ แซ่ซิม ม.สงขลานครินทร์ |
การศึกษาประสิทธิภาพในการลดปวดเปรียบเทียบการฝังเข็มโดยวิธีการคาและไม่คาเข็ม ณ กล้ามเนื้อทราพีเซียสส่วนบนในผู้ปวยที่มีกลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อและพังผืด |
34 | พญ.กนกวรรณ แซ่ห่าน รพ.ศิริราช |
The effectiveness of inspiratory muscle training using the inspiratory muscle trainer on respiratory muscle strength in patients with Duchenne Muscular dystrophy |
35 | นพ.จักรพงษ์ ไพบูลย์สวัสดิ์ รพ.ศิริราช |
A Study of Walking Exercise with Two Types of Arm Swing Comparison |
36 | พญ.ชลิดา ผู้บังเกิดผล รพ.ศิริราช |
Walking meditation enhance balance ability compared to conventional balance training in elderly with history of fall |
37 | พญ.ศิริพร จินตสถาพร รพ.ศิริราช |
Ultrasound-guided motor branch block to improve safety of phenol injection for the treatment of ankle spasticity comparing to the conventional injection technique: a randomized controlled trial |
38 | พญ.กัลยกร บุษปวนิช รพ.ศิริราช |
Effects of High intensity laser therapy on Hemiplegic shoulder pain |
39 | พญ.สวรส แสงชโยสวัสดิ์ รพ.ศิริราช |
The effect of extra body weight application on movement disorder |
40 | พญ.ฐิติกานต์ ชิตชูตระกูล รพ.ศิริราช |
relationship between foot deformity and diabetic foot ulcer in diabetes patients |
41 | พญ.นิภารัตน์ ไตรโลกา รพ.ศิริราช |
A Survey of Thai physiatrist on essential clinical issue defined by importance and frequency in rehabilitation medicine practice |
42 | พญ.ภัทริกา ฤทธิรงค์ รพ.ศิริราช |
Requirement for sexual activity education in heart disease patient at cardiac rehabilitation clinic siriraj hospital |
43 | นพ.กฤษณะ เกียรติโชควิวัฒน์ รพ.ศิริราช |
Accuracy of Siriraj swallowing screening |